7 - 13 of 259 Articles
ในปี 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 13,394 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 70.9% ทำสถิติสูงสุดในรอบ 3 ปี โดยจีนเป็นประเทศที่สั่งซื้อมากที่สุด ตามด้วยสหรัฐฯ และเยอรมนี
คาดการณ์ภาวะการลงทุนปี 2022 ในหมวดสินค้าทุน เครื่องจักร หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จะขยายตัวอย่างมาก เพื่อแก้ปัญหาซัพพลายเชนและการเปลี่ยนเทคโนโลยี
ในเดือนพฤศจิกายน 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,262 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 64% (YoY) ฝั่งไทยทำยอดสั่งซื้อครองแชมป์อันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่อง
สมาคมเครื่องจักรกลแห่งยุโรปเผยสัญญาณบวกอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล คาดความต้องการจากยานยนต์และอากาศยานพุ่งในปี 2022 สวนทางวิกฤตโลก
ในเดือนตุลาคม 2564 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,320 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 81.5% YoY ยอดสั่งซื้อจากไทยพุ่งขึ้นเป็นอันดับ 3 ของเอเชีย
High-speed Machining คืออะไร? ท้าทายยังไง? และต้องเลือก Tool Holder แบบไหน?
รายงานสถานการณ์ โอกาส และปัจจัยเสี่ยง ในอุตสาหกรรม Machine Tools ที่ได้รับผลกระทบทั้งแง่บวกและแง่ลบจากแนวโน้มโลกหลังโควิด
ในเดือน ก.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,272 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 14.8% YoY ยอดสั่งซื้อจากไทย สูงสุดอันดับ 1 อาเซียน และอันดับ 5 เอเชีย
วิกฤตซัพพลายเชนโลกยังแรงไม่หยุด ผู้ผลิตเครื่องจักรญี่ปุ่นขาดแคลนทั้งชิปและชิ้นส่วนสำคัญ ขณะที่ต้นทุนโลจิสติกส์ยังสูง จนหลายแบรนด์เครื่องจักรปรับขึ้นราคาราว 3%
หากเครื่องจักร CNC ต้องหยุดทำงาน เพราะสปินเดิลเสีย คุณต้องจ่ายค่าซ่อม ต้องรอจัดหาอะไหล่ ต้องปรับเปลี่ยนแผนการผลิต ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้น และทำให้ประสิทธิภาพของไลน์ผลิตลดต่ำลง
ในเดือน ส.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,130 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 85.2% YoY ขณะที่ ยอดสั่งซื้อจากไทยสูงเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน และติดอันดับ 4 ของเอเชีย
สมาคมเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ปรับตัวเลขคาดการณ์ยอดสั่งซื้อปี 2021 จะปิดที่ 13,240 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 60.8% สะท้อนการลงทุนที่ฟื้นตัว โดยเฉพาะอุตฯ แม่พิมพ์ทำสถิติเดือน ส.ค.สูงสุดรอบ 5 ปี
ในเดือน ก.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,230 ล้านเหรียญ โต 93.4% YoY ผู้ผลิตเครื่องจักรเริ่มประสบปัญหาขาดแคลนหลายชิ้นส่วน คาดกระทบยาว
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) ไม่จำกัดเพียงแค่การผลิตชิ้นงานจากพลาสติกเรซิ่น แต่รวมไปถึงชิ้นงานโลหะที่ซับซ้อนออกมาได้ดี
ในเดือน มิ.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,203 ล้านเหรียญ โต 96.6% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 15.3 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่องเดือนที่สอง
การพิมพ์ 3 มิติ ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีอนาคต เพราะมีโอกาสสูงในการนำมาใช้งานจริง และมีตลาดรองรับ โดยเฉพาะการนำมาการพิมพ์ 3 มิติ มาใช้กับอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
ในเดือน พ.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,121 ล้านเหรียญ โต 141.9% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 16.8 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียน
คาดการณ์ปี 2021 อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลฟื้นตัวดีและมั่นคงกว่าที่คิด ความต้องการทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น 15% และจะเพิ่มขึ้นอีก 7.5% ในปีถัดไป
ผู้ผลิตเครื่องจักรกลเยอรมันกว่าครึ่งกำลังเผชิญปัญหาใหญ่จากการขาดแคลนชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เหล็กและโลหะ อาจส่งผลให้การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลต้องล่าช้าออกไป
แม้ว่าการลงทุนในหลายอุตสาหกรรมแทบจะหยุดชะงักลงในการระบาดของโควิด-19 อย่างไรก็ตาม 5G และการลดคาร์บอน เป็นสองกุญแจสำคัญผลักดันการลงทุนปีนี้